6% (2007) เชื้อชาติ – โวลอฟ 43. 3%, พูลาร์ 23. 8%, เซเรร์ 14. 7%, โจล่า 3. 7%, แมนดินก้า 3%, โซนินเก 1. 1%, ชาวยุโรปและเลบานอน 1%, อื่น ๆ 9. 4% ศาสนา – มุสลิม 94%, คริสเตียน 5% (ส่วนใหญ่เป็นแคธอลิค, ความเชื่อท้องถิ่น 1% พุทธ 0. 01% ดูเพิ่มได้ในพุทธศาสนาในประเทศเซเนกัล ภาษา – ภาษาฝรั่งเศส (ภาษาทางการ), โวลอฟ, พูลาร์, โจล่า, แมนดินก้า อ้างอิง[แก้] อ่านเพิ่ม[แก้] Babou, Cheikh Anta, Fighting the Greater Jihad: Amadu Bamba and the Founding of the Muridiyya of Senegal, 1853–1913, (Ohio University Press, 2007) Behrman, Lucy C, Muslim Brotherhood and Politics in Senegal, (iUniverse.
เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ ปี 2550 ประธานาธิบดี Abdoulaye Wade ได้รับการเลือกตั้งให้ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีเป็นสมัยที่สอง โดยจะมีวาระการดำรงตำแหน่งอีก 5 ปี (เดิมรัฐธรรมนูญเซเนกัลได้กำหนดให้การดำรงตำแหน่งของประธานาธิบดีมีวาระ 7 ปี) ต่อมาเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม ปี 2550 รัฐบาลได้แก้ไขกฎหมายเพื่อเปลี่ยนรูปแบบองค์กร โดยกำหนดให้มีสภา 2 สภาเหมือนในอดีต (เคยเปลี่ยนเป็นระบบสภาเดียวตั้งแต่ปี 2544) ประกอบด้วยสมัชชาแห่งชาติ (สภาผู้แทนราษฎร) และวุฒิสภา 7. เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน ปี 2550 ได้จัดการเลือกตั้งสมาชิกรัฐสภาเซเนกัล ซึ่งได้สิ้นสุดวาระลงเมื่อเดือนเมษายน ปี 2550 ในการเลือกตั้งครั้งนี้ มีผู้มาใช้ สิทธิเลือกตั้งเพียงร้อยละ 38 ซึ่งต่ำกว่าปี 2544 ที่สูงถึงร้อยละ 67.
ในปี 2503 ดินแดนเซเนกัลได้เข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของสหพันธรัฐมาลีจนได้รับอิสรภาพจากฝรั่งเศสในปีต่อมา แต่ได้แยกตัวออกเป็นอิสระในเดือนสิงหาคม 2504 และจัดตั้งสาธารณรัฐเซเนกัล โดยมีนาย Sedar Senghor เป็นประธานาธิบดีคนแรก และมีการปกครองในระบบพรรคการเมืองเดียวโดยพรรค Union progressiste sénégalais (UPS) จนกระทั่งในปี 2517 ซึ่งรัฐบาลได้อนุญาตให้มีการจัดตั้งพรรคการเมืองฝ่ายค้าน และมีการเลือกตั้งในระบบหลายพรรค อย่างไรก็ตาม พรรค UPS ซึ่งได้เปลี่ยนชื่อเป็น พรรค Partie socialiste (PS) ยังคงได้รับเสียงข้างมากในรัฐบาล และปกครองประเทศอย่างต่อเนื่อง 4. ประธานาธิบดี Senghor ได้ก้าวลงจากตำแหน่งเมื่อปี 2524 โดยนาย Abdou Diouf ได้รับเลือกตั้งให้ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีสืบแทน และดำรงตำแหน่งต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม นับแต่ปี 2534 ได้เกิดความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลกับพรรคฝ่ายค้านจนต้องมีการจัดตั้งรัฐบาล แห่งชาติขึ้น อย่างไรก็ตาม ความขัดแย้งและปัญหาทางการเมืองยังมีต่อเนื่องจนเป็นเหตุให้พรรค PS ของรัฐบาลได้รับความนิยมน้อยลงเป็นลำดับ 5. ในการเลือกตั้งประธานาธิบดีเมื่อปี 2543 ประธานาธิบดี Diouf ซึ่งลงสมัครรับเลือกตั้งซ้ำได้รับคะแนนเสียงไม่ถึงร้อยละ 50 ทำให้จำเป็นต้องมีการเลือกตั้งรอบที่สอง ทำให้ผู้สมัครคนอื่น ๆ ได้หันไปให้การสนับสนุนนาย Abdoulaye Wade ผู้นำพรรคฝ่ายค้าน Senegalese Democratic Party (PDS) จนได้รับการเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดี นอกจากนี้ ในการเลือกตั้งสมาชิกรัฐสภาในปี 2544 ปรากฏว่า พรรค PDS ได้รับเสียงข้างมากเอาชนะพรรค PS ซึ่งปกครองประเทศมาตั้งแต่ได้รับเอกราชด้วย 6.
รัฐบาลเซเนกัลมีนโยบายสร้างความปรองดองระหว่างผู้ที่นับถือศาสนาที่แตกต่างในประเทศ ประธานาธิบดี Abdoulaye Wade ภูมิใจที่เซเนกัลมีชาวมุสลิมอยู่ถึงร้อยละ 95 แต่ชาวคริสต์สามารถอยู่ด้วยกันอย่างเสรีและไม่มีความขัดแย้ง นอกจากนี้ ประธานาธิบดี Wade มีนโยบายเร่งสร้างมหาวิทยาลัย Universite du Futur Africaine โดยมุ่งหวังให้เป็นศูนย์กลางอิสลามศึกษาของแอฟริกา 6. ในปี 2548 รัฐบาลของประธานาธิบดี Abdoulaye Wade ได้ตัดความสัมพันธ์กับไต้หวัน เพื่อสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับจีนอีกครั้ง ตามนโยบาย “ทางเลือกใหม่” (alternance) และประธานาธิบดี Abdoulaye Wade เดินทางเยือนจีนอย่างเป็นทางการระหว่างวันที่ 21-26 มิถุนายน 2549 การเยือนครั้งนี้นับเป็นการเยือนเป็นทางการครั้งแรกนับจากทั้งสองประเทศได้ เปิดความสัมพันธ์ทางการทูตเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2548 โดยก่อนหน้านี้นาย Mackey Sall นายกรัฐมนตรีของเซเนกัลได้เยือนจีนเมื่อเดือนเมษายน 2549 เพื่อส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจอุตสาหกรรมระหว่างเซเนกัลกับจีนด้วย 7. ล่าสุด นาย Hu Jintao ประธานาธิบดีจีนได้เยือนเซเนกัล เมื่อวันที่ 13 – 14 กุมภาพันธ์ 2552 ซึ่งถือว่าเป็นการเยือนครั้งประวัติศาสตร์ เนื่องจากนาย Hu เป็นประธานาธิบดีจีนคนแรกที่ได้เยือนเซเนกัลอย่างเป็นทางการ โดยในโอกาสนี้ได้มีการลงนามในเอกสารสำคัญ 5 ฉบับ ซึ่งเน้นไปที่ความตกลงเพื่อการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของเซเนกัล นอกจากนี้ รัฐบาลจีนยังได้มอบเงินช่วยเหลือแก่เซเนกัลอีกกว่า 9 พันล้าน ฟรังส์เซฟา (18 ล้านดอลลาร์สหรัฐ) และตกลงที่จะสร้างโรงละครแห่งชาติ และมอบเงินให้สำหรับโครงการก่อสร้างอื่น ๆ ของเซเนกัลอีกด้วย ซึ่งการเยือนในครั้งนี้ ประธานาธิบดีของเซเนกัลกล่าวแสดงความพอใจ กับความสัมพันธ์ระหว่างสองประเทศ เป็นอย่างมาก รวมทั้งได้แสดงความชื่นชมบริษัทก่อสร้างจีนว่ามีศักยภาพสูงและจะมอบหมาย โครงการก่อสร้างใหม่ ๆ ให้กับบริษัทจีนดำเนินการต่อไป ข้อมูลเศรษฐกิจ/การค้า (ประมาณการปี 2550) ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ 11.
ข้อมูลพื้นฐานประเทศเซเนกัล - สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงดาการ์วันที่นำเข้าข้อมูล 1 ม. ค. 2513วันที่ปรับปรุงข้อมูล 1 ม. 2513| 4, 287 view สาธารณรัฐเซเนกัล The Republic of Senegal ข้อมูลทั่วไป ที่ตั้ง ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตกของทวีปแอฟริกา ทิศเหนือ ติดกับมอริเตเนีย ทิศใต้ ติดกับกินีและกินีบิสเซา ทิศตะวันออก ติดกับมาลี ทิศตะวันตก ติดกับแกมเบียและมหาสมุทรแอตแลนติก พื้นที่ 96, 840 ตารางกิโลเมตร เมืองหลวง ดาการ์ (Dakar) เมืองสำคัญ Thies, Kaolack, St. Louis, Ziquinchor ภูมิอากาศ มีภูมิอากาศที่แตกต่างในแต่ละภาค เช่น ในบริเวณชายฝั่งจะมีอากาศเย็นภาคใต้อากาศร้อน และมีฝนตกชุก ระหว่างเดือนธันวาคมถึงพฤษภาคม เป็นฤดูหนาวและแห้งแล้งติดต่อกันไม่มีฝนตก อุณหภูมิเฉลี่ยระหว่าง 18-29 องศาเซลเซียส ระหว่างเดือนมิถุนายนถึงพฤศจิกายนจะมีอากาศร้อนและมีฝนตก ประชากร 12. 8 ล้านคน เชื้อชาติ Wolof 43.
50, 0-2 ฟิล โฟเด้น น. 51, 0-3 มาร์คัส แรชฟอร์ด น. 68)เกมสุดท้ายของกลุ่มบี แข่งขันในช่วง 2. ระหว่าง เวลส์ ลงเล่นที่สนามอาห์เหม็ด บิน อาลี สเตเดียม ในเมืองอัล รายยาน ของเจ้าภาพกาตาร์ พบกับ อังกฤษ ครึ่งแรกสกอร์ยังเสมอกันอยู่ 0-0 กระทั่งครึ่งหลังนาทีที่ 50 เป็นฝั่งของอังกฤษมาได้ประตูขึ้นนำ จากลูกฟรีคิกที่ มาร์คัส แรชฟอร์ด ปั่นโค้ง ๆ ด้วยขวาหนีมือ แดนนี วอร์ด เสียบตาข่ายอย่างสวยงาม ส่งให้สิงโตคำรามออกนำ 1-0 ถัดมาเพียงแค่นาทีเดียวเท่านั้น หรือว่านาทีที่ 51 อังกฤษมาบวกลูกสองเพิ่มได้อีก จากจังหวะที่ แฮร์รี เคน ไหลบอลทางกราบขวาลึกไปเสาไกลให้ ฟิล โฟเด้น โฉบมาแปด้วยซ้ายจ่อ ๆ ไม่เหลือ ช่วยให้อดีตแชมป์เมื่อปี 1966 หนีห่างเป็น 2-0 ต่อเนื่องด้วยนาทีที่ 68 อังกฤษมาได้ประตูที่สามเพิ่มเติมอีก จากจังหวะที่ คัลวิน ฟิลลิปส์ วางบอลยาวตั้งแต่แดนตัวเองขึ้นมาทางกราบขวาให้ มาร์คัส แรชฟอร์ด ลากตัดเข้าในแล้วยิงด้วยซ้ายลอดขา แดนนี วอร์ด ตุงตาข่าย เป็นลูกสองของเจ้าตัวในเกมนี้ด้วย ส่งให้ทัพทรีไลออนส์นำห่าง 3-0 จากนั้นไม่มีประตูเกิดขึ้นเพิ่มเติมอีก ทำให้สุดท้ายจบเกมเป็นอังกฤษชนะไป 3-0 ครองแชมป์กลุ่มบีด้วยการเก็บไป 7 แต้ม ผ่านเข้ารอบ 16 ทีมไปพบกับเซเนกัล ส่วนเวลส์จบอันดับ 4 สุดท้ายของกลุ่มบี โดยมีแค่แต้มเดียวเท่านั้น อิหร่าน 0-1 สหรัฐอเมริกา(0-1 คริสเตียน พูลิซิช น.
438 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ[4] (อันดับที่ 99)• ต่อหัว3, 675 ดอลลาร์สหรัฐ[4] (อันดับที่ 158)จีดีพี (ราคาตลาด)2020 (ประมาณ)• รวม28. 02 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ[4][5] (อันดับที่ 105)• ต่อหัว1, 675 ดอลลาร์สหรัฐ[4] (อันดับที่ 149)จีนี (2011)40. 3[6]ปานกลางเอชดีไอ (2019) 0. 512[7]ต่ำ · อันดับที่ 168สกุลเงินWest African CFA franc (XOF)เขตเวลาUTC (เวลามาตรฐานกรีนิช)ขับรถด้านขวารหัสโทรศัพท์+221โดเมนบนสุด. sn กับเฟรนช์ซูดาน ในฐานะสหพันธรัฐมาลี เซเนกัล (ฝรั่งเศส: Sénégal) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐเซเนกัล (ฝรั่งเศส: République du Sénégal) เป็นประเทศที่อยู่ในแอฟริกาตะวันตก มีพรมแดนทางตะวันตกจรดมหาสมุทรแอตแลนติก ทางเหนือจรดมอริเตเนีย ทางตะวันออกจรดมาลี และทางใต้จรดกินีและกินี-บิสเซา โดยล้อมแกมเบียซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันตกของประเทศไว้เกือบทั้งหมด และมีหมู่เกาะกาบูเวร์ดีตั้งอยู่ห่างจากชายแดนตะวันตกไปราว 560 กิโลเมตร ประวัติศาสตร์[แก้] ยุคอาณานิคม ชาวยุโรปชาติแรกที่เข้ามาตั้งรกราก ได้แก่ ชาวโปรตุเกสในคริสต์ศตวรรษที่ 15 แต่ต่อมาในศตวรรษที่ 17 อิทธิพลของฝรั่งเศสเริ่มเข้ามาและมีเพิ่มขึ้นเป็นลำดับ และสามารถสยบรัฐมุสลิมรัฐสุดท้ายได้ในปี 1893 เซเนกัลตกเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศสนานถึง 300 ปี (1659-1960) และดาการ์กลายเป็นเมืองหลวงของอาณานิคมฝรั่งเศสในแอฟริกาตะวันตก เซเนกัลได้รับเอกราชโดยรวมอยู่ในสหพันธรัฐมาลีในวันที่ 20 มิถุนายน 1960 และได้ถอนตัวออกจากสหพันธรัฐเพื่อเป็นประเทศเอกราชอย่างแท้จริงเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 1960 ยุคหลังได้รับเอกราช เมื่อเซเนกัลได้รับเอกราช นาย เลออปอล เซดาร์ ซ็องกอร์ เป็นประธานาธิบดีคนแรกและเป็นประมุขของประเทศ จนเมื่อปี 1980 นักการเมืองรุ่นใหม่ ได้กดดันให้เขาลาออกเนื่องจากปัญหาเศรษฐกิจส่งผลให้นาย Abdou Diouf ซึ่งเป็นนายกรัฐมนตรีขณะนั้นได้ขึ้นเป็นประธานาธิบดีคนที่สองของเซเนกัลแทน และดำรงตำแหน่งต่อมาเป็นเวลา 19 ปี โดยได้รับเลือกตั้งทั้งหมด 3 ครั้ง ในปี 1983, 1988 และ 1993 ในการเลือกตั้งเมื่อปี 2000 นาย Diouf พ่ายแพ้แก่ผู้นำฝ่ายค้าน นาย Abdoulaye Wade เนื่องจากชาวเซเนกัลอยากเห็นความเปลี่ยนแปลงทางการเมืองและเกิดความเบื่อหน่ายในพรรคสังคมนิยมของนาย Diouf ซึ่งครองอำนาจมานานถึง 40 ปี และมีความแตกแยกภายในพรรคสูง อนึ่ง เซเนกัลเคยรวมประเทศกับแกมเบียจัดตั้งสหพันธรัฐเซเนแกมเบียในปี 1982 แต่ก็กลับแยกกันดังเดิมอีกในปี 1989 การเมือง[แก้] การเมืองเซเนกัลมีความมั่นคงมากที่สุดประเทศหนึ่งในภูมิภาคแอฟริกาตะวันตกและ เป็นหนึ่งในไม่กี่ประเทศในแอฟริกาซึ่งไม่เคยประสบเหตุปฏิวัติรัฐประหาร พรรคร่วมรัฐบาล นำโดยพรรค Senegalese Democratic Party ของประธานาธิบดี Wade คุมเสียงข้างมากในสภา การเมืองจึงมีเสถียรภาพสูง นอกจากนี้ ยังสามารถสร้างแนวร่วมได้เพิ่มขึ้น ปัญหาสำคัญของเซเนกัลคือการต่อต้านจากกลุ่มติดอาวุธ the Movement of Democratic Forces in Casamance ของชนเผ่า Dioula ซึ่งไม่พอใจในการปกครองของชนเผ่า Wolof ซึ่งเป็นเผ่าใหญ่ที่สุดของเซเนกัล เนื่องจากเห็นว่า กลุ่มตนไม่ได้รับความสนใจจากรัฐบาลในอดีต แม้ว่าจะมีการลงนามความตกลงสันติภาพกันเมื่อเดือนธันวาคม 2004 แต่ก็ยังมีต่อต้านอยู่เสมอ แม้ว่าจะมีปัญหาภายในดังกล่าว แต่ก็ถือได้ว่าเซเนกัลเป็นหนึ่งในประเทศประชาธิปไตยที่มีเสถียรภาพมากที่สุดแห่งหนึ่งในแอฟริกา การแบ่งเขตการปกครอง[แก้] ประเทศเซเนกัลแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 14 เขตการปกครอง (regions) ได้แก่ เขตดาการ์ เขตดิอัวร์เบล เขตฟาทิค เขตคาฟฟรีน เขตเคาแล็ค เขตเคเดาเกา เขตโคลดา เขตลูกา เขตมาตัม เขตเซดิว เขตเซนต์หลุยส์ เขตทัมบาเคาน์ดา เขตทิเอส เขตชิกูยน์ชอร์ ภูมิศาสตร์[แก้] พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มกึ่งทะเลทราย โดยค่อย ๆ ลาดสูงขึ้นไปจรดเชิงเขาบริเวณตะวันออกเฉียงใต้ที่อุดมไปด้วยป่าไม้ เศรษฐกิจ[แก้] เซเนกัลเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจที่สำคัญของภูมิภาคแอฟริกาตะวันตก แต่ใน ค.
ผลบอลโลก 2022 วันที่ 10 : อังกฤษลิ่วดวลเซเนกัล, เนเธอร์แลนด์ทะลุ
ความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้านโดยทั่วไปความ สัมพันธ์เป็นไปด้วยความราบรื่น อย่างไรก็ดี แม้ว่าในปัจจุบันเซเนกัลจะไม่มีปัญหาพรมแดนกับมอริเตเนียซึ่งเป็นประเทศ เพื่อนบ้านแล้ว แต่ก็ยังประสบกับปัญหาผู้ลี้ภัยชาวมอริเตเนียที่ตกค้างอยู่ที่เซเนกัลจำนวน 35, 000 ถึง 40, 000 คน 4. เซเนกัลยังมีบทบาทสำคัญในฐานะสมาชิกองค์การการ ประชุมอิสลาม (OIC) ในปี 2551 เซเนกัลเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมสุดยอดผู้นำ OIC ครั้งที่ 11 ระหว่างวันที่ 13-14 มีนาคม 2551 ณ กรุงดาการ์ ทั้งนี้ ในโอกาสของการประชุมที่ผ่านมา ประธานาธิบดี Wade ได้มีบทบาทเป็นผู้ไกล่เกลี่ยให้มีการลงนามความ ตกลงเพื่อสันติภาพระหว่างสาธารณรัฐชาดและสาธารณรัฐซูดาน เพื่อการฟื้นฟูสันติภาพและความมั่นคงระหว่างสองประเทศ และรวมไปถึงอนุภูมิภาคอีกด้วย อนึ่ง เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2549 ประธานาธิบดี Wade ในฐานะประธานของคณะกรรมาธิการสหประชาชาติในเรื่องสิทธิของชนชาวปาเลสไตน์ และในฐานะที่เป็นTroika ของ OIC ได้ออกแถลงการณ์ที่สหประชาชาติเพื่อหาข้อยุติการสู้รบในประเทศเลบานอน ระหว่างฝ่าย Hezbollah กับอิสราเอล ทั้งนี้ โดยได้รับการสนับสนุนจากกษัตริย์ Abdallah Ben Abdel Aziz ALSAOUD แห่งซาอุดีอาระเบีย 5.
วิเคราะห์บอล !! ฟุตบอลโลก 2022 อังกฤษ พบ เซเนกัล 4 ธ.ค.65
ประเทศเซเนกัล - วิกิพีเดียจากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี บทความนี้เกี่ยวกับประเทศ สำหรับแม่น้ำ ดูที่ แม่น้ำเซเนกัล สาธารณรัฐเซเนกัลRépublique du Sénégal (ฝรั่งเศส) ธงชาติ ตราแผ่นดิน คำขวัญ: "Un Peuple, Un But, Une Foi" (ฝรั่งเศส)"หนึ่งชนชาติ หนึ่งเป้าหมาย หนึ่งศรัทธา"เพลงชาติ: "แป็งเซตูโวกอรา ฟราเปเลบาลาฟง""ทุกคนจงดีดกอราและตีบาลาโฟน"ที่ตั้งของ ประเทศเซเนกัล (เขียวเข้ม)เมืองหลวงและเมืองใหญ่สุดดาการ์14°40′N 17°25′W / 14. 667°N 17. 417°Wภาษาราชการฝรั่งเศสภาษากลางโวโลฟภาษาประจำชาติ รายชื่อ: อาหรับ BalantaJola-FonyiมานินกาMandjakMankanyaNoonPulaarเซเรอร์โซนินเก กลุ่มชาติพันธุ์ โวโลฟ (41.
วิเคราะห์ ฟุตบอลโลก 2022 (รอบ 16 ทีมสุดท้าย) อังกฤษ VS เซเนกัล
เซเนกัล vs เนเธอร์แลนด์-【อังกฤษ VS อิหร่าน : พรีวิว ฟุตบอลโลก
ดินแดนเซเนกัลได้รับการบันทึกในประวัติศาสตร์ นับแต่คริสต์ศตวรรษที่ 8 โดยเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรกานา ประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 15 โปรตุเกสเริ่มจัดตั้งสถานีการค้าในบริเวณดังกล่าว ตามด้วยชาวดัทช์ อังกฤษ และฝรั่งเศส ในปี 2438 ฝรั่งเศส ได้เข้ายึดครองดินแดน ประเทศเซเนกัลเข้าเป็นส่วนหนึ่งของแอฟริกา ตะวันตกของฝรั่งเศส 3.
เอกวาดอร์ vs เซเนกัล - สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง
“กานา เกย์” เผยชื่อ 1 ตัวเต็ง “เซเนกัล” ที่จะพาทีมดับซ่า “อังกฤษ” ใน
4 สาเหตุอาจเนื่องมาจากการที่กลุ่มพรรคฝ่ายค้านหลัก (Front for the Restoration of Senegal) ซึ่งเป็นกลุ่มที่ได้รับเสียงสนับสนุนกว่าร้อยละ 40 คว่ำบาตรการเลือกตั้งดังกล่าวในการเลือกตั้งประธานาธิบดีเมื่อเดือน กุมภาพันธ์ ที่ผ่านมา 8. อย่างไรก็ดี เซเนกัลเป็นประเทศที่มีเสถียรภาพทางการเมืองมากที่สุดในภูมิภาคแอฟริกาตะวันตก โดยเป็นประเทศเดียวในแอฟริกา ที่ไม่เคยมีการปฏิวัติรัฐประหาร และยังเป็นประเทศที่มีบทบาทอย่างมากในระดับภูมิภาค โดยเฉพาะการจัดตั้งกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจแอฟริกาตะวันตก (ECOWAS) สหภาพแอฟริกา (AU) กลุ่มประเทศผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศส (Francophonie( และเป็นหนึ่งในผู้ริเริ่มก่อตั้ง NEPAD โดยรัฐบาลเซเนกัลสนับสนุน NEPAD ให้เป็นหัวใจสำคัญของนโยบายต่างประเทศในการสร้างบทบาทนำของตนในเวทีภูมิภาค ตลอดจนเพื่อผลักดันการขอเงินสนับสนุนช่วยเหลือ และการผ่อนปรนหนี้ให้แก่ แอฟริกา นโยบายต่างประเทศ 1. ประธานาธิบดี Wade ดำเนินนโยบายผลักดันบทบาทเซเนกัล ทั้งในระดับภูมิภาคและระดับโลก โดยเมื่อเดือนธันวาคม 2544 ประธานาธิบดี Wade เข้าดำรงตำแหน่งประธานของประชาคมเศรษฐกิจแห่งรัฐแอฟริกาตะวันตก Economic Community of West African States (ECOWAS) และ สหพันธ์เศรษฐกิจ และการเงินแห่งแอฟริกาตะวันตก Treaty on West African Economic and Monetary Union (WAEMU) และ เมื่อเดือนมิถุนายน 2545 ได้ร่วมกับประธานาธิบดี Thabo Mbeki แห่งแอฟริกาใต้ และประธานาธิบดี Olusegun Obasanjo แห่งไนจีเรียเสนอแนวคิด New Partnership for Africa’s Development (NEPAD) ในการประชุมกลุ่ม G8 ที่แคนาดา ซึ่งต่อมา NEPAD ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางให้เป็นกรอบการพัฒนาของภูมิภาคแอฟริกา ทั้งนี้ รัฐบาลเซเนกัลสนับสนุน NEPAD ให้เป็นหัวใจสำคัญของนโยบายต่างประเทศในการสร้างบทบาทนำของตนในเวทีภูมิภาค ตลอดจนเพื่อผลักดันการขอความสนับสนุนเงินช่วยเหลือและการผ่อนปรนหนี้ให้แก่ แอฟริกา 2.
3%)ฟูลา (17. 8%)เซเรอร์ (15. 7%)มันดินกา (14. 0%)Jola (3. 7%)Soninke (1. 1%)อื่น ๆ (7. 4%)การปกครองรัฐเดี่ยว ประธานาธิบดีแบบสาธารณรัฐ[1]• ประธานาธิบดี มากี ซาล• ประธานรัฐสภา Moustapha Niasseสภานิติบัญญัติรัฐสภาเป็นเอกราช• ก่อตั้งสาธารณรัฐ 25 พฤศจิกายน ค. ศ. 1958• จากฝรั่งเศสa 4 เมษายน ค. 1960• ถอนตัวจากสหพันธรัฐมาลี 20 สิงหาคม ค. 1960พื้นที่• รวม196, 712 ตารางกิโลเมตร (75, 951 ตารางไมล์) (อันดับที่ 86)• แหล่งน้ำ (%)2. 1ประชากร• พ. 2560 ประมาณ15, 411, 614[2] (อันดับที่ 72)• สำมะโนประชากร 201616, 624, 000[3] (อันดับที่ 73)• ความหนาแน่น68. 7 ต่อตารางกิโลเมตร (177. 9 ต่อตารางไมล์) (อันดับที่ 134)จีดีพี (อำนาจซื้อ)2020 (ประมาณ)• รวม66.
2 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (ไทย 245. 8 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ) อัตราความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ร้อยละ 4. 2 (ไทย ร้อยละ 4. 9) อัตราเงินเฟ้อ ร้อยละ 5. 9 (ไทย ร้อยละ 2. 3) รายได้ประชาชาติต่อหัว 906 ดอลลาร์สหรัฐ (ไทย 3578. 5 ดอลลาร์สหรัฐ) อัตราการว่างงาน ร้อยละ 48 (ไทย ร้อยละ 1. 4) อุตสาหกรรมที่สำคัญ การแปรรูปสินค้าเกษตรและปลา เหมืองแร่ฟอสเฟต ปุ๋ย การกลั่นปิโตรเลียม แร่เหล็ก เหมืองทอง วัสดุก่อสร้าง การต่อเรือและซ่อมแซม ทุนสำรองเงินตราต่างประเทศ 1. 76 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (ไทย 111 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ) ดุลการค้ากับไทย ปี 2551 มูลค่าการค้าไทยและเซเนกัลมี 273. 45 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ไทยส่งออก 265. 25 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ไทยนำเข้า 8. 21 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ไทยได้เปรียบดุลการค้าเป็นมูลค่า 257. 04 ล้านดอลลาร์สหรัฐ สินค้าออกที่สำคัญของเซเนกัล ปลา ถั่ว ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ฟอสเฟต ฝ้าย สินค้าเข้าที่สำคัญของเซเนกัล อาหารและเครื่องดื่ม สินค้าที่ใช้เป็นทุน น้ำมัน ประเทศคู่ค้าที่สำคัญ (สถิติปี 2550) เซเนกัลส่งออกไป มาลี 18.
com, 1999) Buggenhage, Beth A, Muslim Families in Global Senegal: Money Takes Care of Shame, (Indiana University Press, 2012) Bugul, Ken, The Abandoned Baobab: The Autobiography of a Senegalese Woman, (University of Virginia Press, 2008) Foley, Ellen E, Your Pocket is What Cures You: The Politics of Health in Senegal, (Rutgers University Press, 2010) Gellar, Sheldon, Democracy in Senegal: Tocquevillian Analytics in Africa, (Palgrave Macmillan, 2005) Glover, John, Sufism and Jihad in Modern Senegal: The Murid Order, (University of Rochester Press, 2007) Kane, Katharina, Lonely Planet Guide: The Gambia and Senegal, (Lonely Planet Publications, 2009) Kueniza, Michelle, Education and Democracy in Senegal, (Palgrave Macmillan, 2011) Mbacké, Khadim, Sufism and Religious Brotherhoods in Senegal, (Markus Wiener Publishing Inc., 2005) Streissguth, Thomas, Senegal in Pictures, (Twentyfirst Century Books, 2009) Various, Insight Guide: Gambia and Senegal, (APA Publications Pte Ltd., 2009) Various, New Perspectives on Islam in Senegal: Conversion, Migration, Wealth, Power, and Femininity, (Palgrave Macmillan, 2009) Various, Senegal: Essays in Statecraft, (Codesria, 2003) Various, Street Children in Senegal, (GYAN France, 2006) แหล่งข้อมูลอื่น[แก้] เว็บไซต์ทางการ (ในภาษาฝรั่งเศส) Country Profile from BBC News Senegal.
วิเคราะห์บอลคืนนี้ฟุตบอลโลก 2022 : อังกฤษ พบ เซเนกัล (รอบ 16 ทีม)
เซเนกัล vs เนเธอร์แลนด์-【มหาศาล!! อังกฤษ ผงาดเบอร์ 1 ทีมมูลค่า
44 (จุดโทษ), 1-1 มอยเซส ไกเซโด้ น. 67, 1-2 คาลิดู คูลิบาลี น. 70)เกมสุดท้ายของกลุ่มเอ แข่งขันในช่วง 22. ระหว่าง เอกวาดอร์ ลงเล่นที่สนามคาลิฟ อินเตอร์เนชันแนล สเตเดียม ในเมืองอัล รายยาน ของเจ้าภาพกาตาร์ พบกับ เซเนกัล ครึ่งแรกเป็นฝั่งของเซเนกัลมาได้จุดโทษ ในนาทีที่ 44 จากจังหวะที่ อิสไมลา ซาร์ ไปโดน ปิเอโร อินกาปี้ กระแทกตัวล้มลงไป แล้วก็เป็นทาง อิสไมลา ซาร์ ลุกขึ้นมารับหน้าที่สังหารเองไม่พลาด ส่งให้ทีมจากแอฟริกาขึ้นนำ 1-0 ครึ่งหลังเอกวาดอร์มาได้ประตูตีเสมอ ในนาทีที่ 67 จากลูกเตะมุมฝั่งขวาที่ กอนซาโล ปลาต้า เปิดมาเสาแรกให้ เฟลิกซ์ ตอร์เรส โหม่งเช็ดไปเสาไกลต่อให้ มอยเซส ไกเซโด้ แปด้วยขวาจ่อ ๆ ไม่เหลือ ทำให้สกอร์ขยับมาเท่ากันที่ 1-1 ทว่าถัดมานาทีที่ 70 เซเนกัลมาได้ประตูขึ้นนำอีกครั้ง จากลูกฟรีคิกทางกราบขวาที่ อิดริสซา เกย์ เปิดเข้าเขตโทษไปโดน เอนเนอร์ วาเลนเซีย สกัดมาเข้าทาง คาลิดู คูลิบาลี แปด้วยขวาตุงตาข่าย ช่วยให้ทีมจากแอฟริกานำอีกรอบ 2-1 จากนั้นไม่มีประตูเกิดขึ้นเพิ่มเติมอีก ทำให้สุดท้ายจบเกมเป็นเซเนกัลชนะไป 2-1 จบรองแชมป์กลุ่มเอและผ่านเข้ารอบ 16 ทีมไปพบกับอังกฤษ เวลส์ 0-3 อังกฤษ(0-1 มาร์คัส แรชฟอร์ด น.
9% ฝรั่งเศส 9. 1% อิตาลี 5. 9% อินเดีย 5. 7%แกมเบีย 5. 2% เซเนกัลนำเข้า ฝรั่งเศส 22. 2% เนเธอร์แลนด์ 10% จีน 7. 4% สหราชอาณาจักร 6. 2% ไทย 5. 2% เบลเยี่ยม 4. 5% หน่วยเงินตรา เงินฟรังก์เซฟา (Communaute Financiere Africaine Franc หรือ XOF) อัตราแลกเปลี่ยน 513. 14 เท่ากับ 1 ดอลลาร์สหรัฐ หรือประมาณ 14. 23ฟรังก์เซฟาเท่ากับ 1 บาท สภาพทั่วไปทางเศรษฐกิจ เซเนกัลเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจที่สำคัญของภูมิภาคแอฟริกาตะวันตก โดยภาคเศรษฐกิจประกอบด้วย ภาคบริการ (การท่องเที่ยว) ร้อยละ 60 ภาคอุตสาหกรรม ร้อยละ 20 ภาคการเกษตร ร้อยละ 20 ของรายได้ประชาชาติ ภาคเกษตรยังคงเป็นหัวใจของเศรษฐกิจเนื่องจากแรงงานร้อยละ 70 อยู่ในภาคการเกษตร รายได้หลักของประเทศมาจากการส่งออกสินค้าภาคเกษตร อาทิ ถั่วลิสง การประมง ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ฟอสเฟต ฝ้าย การท่องเที่ยวและการบริการ อย่างไรก็ตาม เซเนกัลยังคงพึ่งพาเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ โดยผู้ให้ความช่วยเหลือเซเนกัลประกอบด้วย ฝรั่งเศส กองทุนการเงินระหว่างประเทศ สหภาพยุโรป ธนาคารเพื่อการพัฒนาแอฟริกา USAID ญี่ปุ่น เยอรมนี แคนาดา และหน่วยงานของสหประชาชาติ เป็นต้น รัฐบาลเซเนกัลได้รับแรงกดดันจากองค์การระหว่างประเทศที่ให้ความช่วยเหลือ โดยเฉพาะ IMF และ World Bank ให้เปลี่ยนแปลงนโยบายเศรษฐกิจของประเทศจากเดิมที่เป็นสังคมนิยมให้เป็นทุนนิยม สนับสนุนการค้าเสรีโดยได้เริ่มผ่อนคลายมาตรการกีดกันทางการค้า และเปิดเสรีรัฐวิสาหกิจ (privatization) รัฐบาลเซเนกัลมุ่งดำเนินการปฏิรูปทางเศรษฐกิจโดย เน้น 4 สาขาหลัก ประกอบด้วย นโยบายการคลัง การปฏิรูปโครงสร้าง การแก้ไขปัญหาความยากจน และการสนับสนุนภาคเอกชน นอกจากนี้ ยังดำเนินแผนการลดความยากจนและการสนับสนุนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (Poverty Reduction and Growth Facility: PRGF) 3 ปี ตามที่ IMF ได้ให้ความเห็นชอบแล้วเมื่อเมษายน 2546 โดยเน้นการปฏิรูปภาคการเกษตร การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การเปิดเสรีกฎหมายแรงงาน (liberalising labour legislation) การกระตุ้นกลไกตลาด การสร้างงานใหม่ และการสนองตอบความต้องการพื้นฐานของผู้ยากไร้ผ่านโครงการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ และการเพิ่มสมรรถภาพ (Capacity building) การปฏิรูปภาครัฐ ตลอดจนแปรรูปวิสาหกิจ นอกจากนี้ รัฐบาลได้เริ่มดำเนินโครงการขนาดใหญ่ อาทิ การสร้างสนามบินนานาชาติแห่งใหม่ การขยายเครือข่ายถนนและการพัฒนาท่าเรือ เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการลงทุนของเอกชนทั้งจากท้องถิ่นและต่างประเทศ ในภาพรวม เซเนกัลถือว่าประสบความสำเร็จในการแก้ไขปัญหาเงินเฟ้อ ดังจะเห็นได้จากตัวเลข GDP ที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 ในปี 2538 – 2550 และอัตราเงินเฟ้อลดลงมาในระดับเลขเดียว (single digit) นอกจากนี้ หลังจากที่เข้าร่วมโครงการเพื่อบรรเทาหนี้สำหรับประเทศที่มีหนี้สินระหว่าง ประเทศในระดับสูง (Highly Indebted Poor Countries-HIPC) ของ IMF ทำให้เซเนกัลสามารถปลดหนี้ได้ถึง 2 ใน 3 ของหนี้ระหว่างประเทศทั้งหมด อย่างไรก็ดี เซเนกัลยังประสบปัญหาว่างงาน และมีแรงงานจำนวนมากที่เข้าไปทำงานในยุโรปอย่าง ผิดกฎหมาย นโยบายของ นรม.
กองทัพเซเนกัลยังมีบทบาทในการรักษาสันติภาพทั้งใน และนอกภูมิภาค โดยได้ส่งกองกำลังรักษาสันติภาพเข้าไปในรวันดา แอฟริกากลาง สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก โกตดิวัวร์ ไลบีเรีย และโคโซโวในฐานะส่วนหนึ่งของกองกำลังรักษาสันติภาพสหประชาติ ล่าสุดผู้แทนเซเนกัลได้สมัครรับเลือกตั้งซ้ำในตำแหน่งผู้อำนวยการใหญ่ องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) และเซเนกัลได้แสดงความประสงค์ที่จะเป็นสมาชิกถาวรคณะมนตรีความมั่นคงสหประชา ชาติด้วย 3.
Cheikh Hadjibou Soumare มุ่งเน้นการส่งเสริมการลงทุนจากต่างประเทศอย่างจริงจัง โดยเน้นไปที่การปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานต่าง ๆ ที่จะส่งเสริมการลงทุนจากต่างชาติ อาทิ โครงการสร้างสนามบินแห่งใหม่ โครงการปรับปรุงท่าเรือ โครงการปรับปรุงระบบโทรคมนาคม เป็นต้น นอกจากนี้ รัฐบาลเซเนกัลยังแสดงความสนใจเรื่องการพึ่งพาตนเองในเรื่องอาหาร (food sufficiency) เพื่อลดการพึ่งพาจากต่างประเทศ ซึ่งก่อนหน้านี้เซเนกัลจำเป็นต้องนำเข้าสินค้าทางการเกษตรจากต่างประเทศเป็น จำนวนมากและทำให้ขาดดุลการค้ามาโดยตลอด รัฐบาลจึงได้จัดสรรงบประมาณจำนวน 13 ล้านฟรังก์เซฟา เพื่อให้ความช่วยเหลือกลุ่มธุรกิจขนาดเล็กที่เกี่ยวข้องกับการผลิตและพัฒนา สินค้าเกษตร ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับสาธารณรัฐเซเนกัล 1. ความสัมพันธ์ทั่วไป 1.
วิเคราะห์บอลเซเนกัลแซมเบีย,บอล สด ภาษา อังกฤษ
กาตาร์ vs เซเนกัล-【ทีมชาติอังกฤษ